tp:=อัลบั้มโปรด 2548 tg:= op:={b}2548{/b} {table style='background: #FFF none'}{tr}{td width=260}{img src=data/pic/cov/48_jerry.gif alt=}{td} {b}ศิลปิน :{/b} Jerry ศศิศ มิลินทวณิช {b}อัลบั้ม :{/b} Jerry 2002-2004 {b}สังกัด :{/b} My Love Music {/table} เป็นอัลบั้มเก็บตกมาจากกลางปี 2547 ครับ ด้วยการบันทึกเสียงที่ไม่ค่อยดีเอาซะเลย เหมือนเป็น demo ซะทุกเพลง คือเสียงขุ่นๆ น่ะ ปีก่อนก็เลยฟังแบบเผินๆ ยังไม่เข้าถึงเท่าไหร่ มาปีนี้ก็เพิ่งจะฟังไปฟังมาแล้วบรรลุนี่ล่ะครับ.. (ปีนี้ก็เลยเลือกอัลบั้มโปรดมา 6 ชุดอีกแล้ว) 5 เพลงร้อง, 1 ดนตรี, และ 1 อินเทอร์ลูด ถือว่ากำลังดี * ฟังแป๊บเดียวจบได้เลย ไม่ต้องเมื่อยนาน * จำนวนเพลงน้อยแต่ใช้การได้หมด ทำให้อัลบั้มดูมีค่าขึ้น 1 ดนตรีที่ว่า.. คือเพลง Maxican จาก Belter 1.0 ซึ่งได้แนะนำถึงความแซ่บของกีตาร์โฟล์คสไตล์เม็กซิกันไปแล้ว อยู่ในอัลบั้มโปรด ปี2547 น่ะครับ.. คราวนี้ตัดเสียงร้องของพี่โป้ออก มันส์ลดลงไปนิดหน่อย แต่ก็ยังคงมันส์อยู่ดี.. เหมือนกับเน้นกีตาร์ให้เด่นขึ้นมา ให้ได้จับใจความในดนตรีกันบ้าง สำหรับเพลงร้องที่แนะนำ ได้แก่ เรือ - เพลงจังหวะสนุกๆ ที่ร้องโดยพี่โป้ ฟังหลายหนถึงได้แกะเนื้อร้องออก เปรียบชีวิตกับการเดินทางของเรือ ถึงแม้จะไม่รู้ว่าจะเจออะไรข้างหน้า ก็ขอให้แล่นออกไปก่อน แล้วสุดท้ายชีวิตก็มีทางออกให้รู้เอง ไม่ต้องไปกังวลล่วงหน้า.. ท่อนฮุคนี่นับว่าน่าชื่นชมการแต่งเนื้อโดยพี่โป้ ฟังแล้วมันโดนมากเลย.. "ใช่ก็ใช่ไม่ใช่ก็ไม่ จะเจอก็ได้ไม่เจอก็ได้ เชื่อซินี่เป็นเพียงการเริ่มต้นลอง ไปยังไงจะไปทำไม ไม่รู้ก็ได้เพราะตอนสุดท้ายนั้นต้องมีทางออก ให้ฉันรู้ได้เอง ไม่อยากคิดไม่อยากถามไม่ต้องบอก" เพราะฉันพบเธอ - เนื้อร้องโดยเซนทราดี้ ร้องโดยวิน (สกวี๊ซแอนิมอล) เป็นอีกเพลงรักที่เนื้อหาสุดจะคลาสสิค "ที่ผ่านมานั้นก็เพื่อวันนี้ อะไรที่เคยทำ ที่เคยได้พลาดพลั้ง ที่ผ่านมานั้นไม่ผิดเลย ไม่เคยเสียใจสักวัน เพราะชีวิตฉันได้พบกับเธอ" เขาว่า ชีวิตที่ผ่านมามีการตัดสินใจมากมาย ตัดสินใจผิดก็เยอะ ผิดหวังมาก็มาก แต่ทุกอย่างที่ผ่านมานั้นไม่คิดเสียใจเลย เพราะมันทำให้ได้รู้จักกับเธอ.. โอ้ว้าว.. ซึ่งจริงๆ ทำไมเราคิดไม่ได้มั่งอ่ะ.. ฉันเอง - เพลงนี้ร้องโดยเจอรี่และโป้ แบบร้องพร้อมๆ กันอ่ะ ไม่ได้มีการประสานเสียงหรืออะไร แค่อยากร้องด้วยกัน.. หงิ่ว.. เป็นอีกเพลงที่ใช้แสดงความเสียใจกับคู่รัก ว่าที่ทำผิดไปนั้น ก็ไม่ได้ตั้งใจให้มันเป็น และในเมื่อเราย้อนกลับไปแก้ไขไม่ได้ ก็มาช่วยกันลืมดีกว่า.. เนื้อหาเข้าที ทำนองป๊อปค่อนไปทางน่ารัก เสียงร้องไม่ปั้นแต่งมาก ดนตรีไม่เนี้ยบไม่นิ้ง กลองไพล่ไปคร่อมจังหวะก็มี.. ร้องเยื้องท่อนก็มี.. แถมการผสมเสียงยังอยู่ในขั้นแย่ซะด้วย ไม่มีใครกล้าทำแบบนี้อีกแล้ว แต่รวมกันกลับกลายเป็นเอกลักษณ์ของอัลบั้มนี้ขึ้นมาเฉยเลย.. ต้องลองหามาฟังดู :] {table style='background: #FFF none'}{tr}{td width=260}{img src=data/pic/cov/48_morning.gif alt=}{td} {b}ศิลปิน :{/b} Morningsurfers {b}อัลบั้ม :{/b} Love Room {b}สังกัด :{/b} No More Belts {/table} เทใจให้สังกัด No More Belts อีกแล้วครับ.. (แต่ต้องติเรื่องแพคเกจและหน้าปกอัลบั้ม เช่นเคย) กับอีกอัลบั้มเก็บตกจากปี 2547 ซึ่งวางแผงในงานแฟตปลายปี ผมเพิ่งได้ซื้อมาทดลองในช่วงปีนี้เอง แล้วก็กลายเป็นอัลบั้มที่หยิบมาฟังบ่อยที่สุดในปี 2548 ไปแล้ว วงที่มีชื่อแปลตรงตัวว่า นักโต้รุ่ง วงนี้ มีชื่อเดิมว่า รวยกุ้ง (เชื่อไหมครับ ผมเพิ่งทราบ ข้าวเกรียบกุ้งฮานามินั้น มีขายในแพคเกจเดิมแต่เปลี่ยนชื่อเป็น รวยเพื่อน ด้วยล่ะ ไม่รู้ทำไมต้องเปลี่ยน แต่ถือว่าเข้าท่านะ เพราะสโลแกน "ฮานามิ ข้าวเกรียบรวยเพื่อน" ใช้โฆษณาได้ทีเดียว 2 ยี่ห้อเลย ส่วนยี่ห้อรวยกุ้งนี่เป็นยี่ห้อเลียนแบบครับ เคยเห็นบ้างตาม ตจว.) ทุกคนเป็นเด็กสวนกุหลาบ แชมป์ฮอตเวฟมิวสิคอวอร์ดซักปีนึง.. เคยมีผลงานซิงเกิ้ล --เช้า-- อยู่ในคอมพิเลชั่น Belter 1.0 เมื่อปีก่อน แล้วอัลบั้มเต็มก็ตามออกมาเป็นวงแรกสุด.. 12 เพลงในอัลบั้มเป็นเพลงป๊อปที่เล่นกันสะใจดีแท้ อาจไม่หนักและไม่หม่นเท่าป๊อปแบบวงฟลัวร์ แต่ก็เล่นกันไม่เบาเท่าไหร่ และถือว่ายืนอยู่ฝั่งสดใสตรงกันข้ามกับฟลัวร์ การแต่งเพลง การเรียบเรียง ซึ่งทำกันเองหมดนั้น มีชั้นเชิงดี ยิ่งบวกกับการมิกซ์เสียงของ Koichi แล้วยิ่งเยี่ยมยอดเข้าไปใหญ่ (ฟังเทียบกับเพลงเดียวกันในอัลบั้ม Belter 1.0 แล้วจะรู้.. ..เอ้อ ผมว่าการผสมเสียงนี่เป็นอีกจุดที่ทำให้เพลงน่าสนใจโดยไม่รู้ตัว.. ..จาก Belter 1.0 ผมมองข้ามวงนี้ไปอาจด้วยเรื่องการผสมเสียงส่วนนึง และเป็นเหตุเดียวกับที่มองข้ามวง อวสานเซลส์แมน ใน SR002 ไป..) ความแปลกของวงนี้คือมี 1 สมาชิกทำหน้าที่เป่าทรัมเป็ต ถ้าใครนึกถึงหน้าที่เป่าฟลุ้ตของวงอาร์มแชร์แล้วส่ายหน้าว่ามีทำไมล่ะก็ ขอบอกว่าวงนี้ไม่เหมือนกันนะครับ ถึงจะเป่าคนเดียวเสียงเดียวไม่มีทีมเครื่องเป่า แต่ก็ถือเป็นเอกลักษณ์ของเพลง และไม่สามารถเอาทรัมเป็ตออกได้ จ๊าบขนาด! เนื้อหาของเพลงเกือบทั้งหมดคือเรื่องความรัก และก็เป็นประโยคที่คนร้องพูดกับคนฟัง (คู่รัก) ซะหมดเลย แต่ถึงอย่างนั้นก็ไม่ใช่ว่าจะซ้ำซาก หรือว่าจะเลี่ยนเอียนไปข้าง เพราะต่างเพลงก็จังหวะต่างกันไป และเนื้อหาก็ต่างกันไปด้วย ร้อยเรียงเป็นเรื่องได้เลย ตั้งแต่คอยดูดาว คิดถึงคนที่แอบชอบ, ความรู้สึกเหงา อยากมีใครสักคนคอยปลอบ, เพลงที่บอกความในใจแก่กัน, เพลงที่รักกันจัด อย่าคิดถึงวันต่อไปแต่จงสุขใจกับวันนี้, เพลงที่ยืนยันมั่นใจในรัก ให้กำลังใจกันก่อนจำต้องห่าง, ตัดพ้อที่เธอชอบพูดถึงอื่นแต่บอกว่าไม่มีอะไรกัน, เช้าวันใหม่หลังจากที่เธอจากไป ฯลฯ ป.ล. ได้ข่าวว่าปีหน้าอัลบั้มจาก No More Belts จะไปอยู่สังกัดสนามหลวง (ปีนี้อัลบั้มใหม่ของ Sleeper1 เจ้าของบริษัท ก็ย้ายมาแล้วเป็นคนแรก) โอ้ เซ็งเลย.. แล้วเป็นอย่างงี้เยอะๆ วงการเพลงไทยจะเหลืออะไรให้เลือก {table style='background: #FFF none'}{tr}{td width=260}{img src=data/pic/cov/48_bkkgigolo.gif alt=}{td} {b}ศิลปิน :{/b} กีตาร์มก (พชร วิภาตะศิลปิน) {b}อัลบั้ม :{/b} Bangkok Gigolo E.P. {b}สังกัด :{/b} (อิสระ) {/table} มาถึงงานที่วางขายในปีนี้บ้าง.. ..ภูมิใจนำเสนอมาก ในที่สุดผมก็ได้แนะนำอัลบั้มของเขาคนนี้ซะที พี่มก บุคคลที่เล่นสดได้ฮายังกะเล่นตลก และทำเพลงได้จี๊ดใจกระผมนัก ที่ว่าจี๊ดเพราะเพลงจังหวะคึกคักเขาสับกีตาร์อะคูสติกได้มันส์มาก และให้ความสำคัญมากๆ กับเรื่องการผสมเสียง (เหมือนพี่ป้างเลย) ผลงานเก่าของเขาคือ (1) อัลบั้มเต็ม 1 ชุด สังกัดอินดี้คาเฟ่ ในชื่อ กีตาร์มก แอนด์ พิ้งค์ อัลบั้มบางกอกบลูส์.. เพลงเด่น ยอดหญิง และฝันกลางวัน (2) เพลง (ป๊อป) เปิดอัลบั้ม Greenlight Project จำนวน 2 เพลง ในนามวงบางกอกจิ๊กกะโล่ ...เธอน่ารัก และบอกฉันบอกเธอ อัลบั้มที่แนะนำนี่ประกอบด้วย 5 เพลงใหม่เอี่ยม และอีก 2 เพลงเก่าที่อยู่ในอัลบั้มต่างๆ ของนิตยสาร a day คือ วันหยุดแห่งชาติ และ Let me be ถ้าใครเคยฟังสองเพลงนี้คงจะคุ้นเคยกับแนวเพลงของเขาบ้าง เป็นป๊อปตรงๆ สอดโซโล่หรือคอร์ดแบบบลูส์บ้าง และเน้นกีตาร์โปร่งให้จังหวะซึ่งเล่นได้จี๊ดมากอย่างที่บอก.. มาถึงเพลงใหม่ Wake up your soul (เพลงเนื้อไทยนะครับ) ก็ยังไม่ฉีกแนวไปจากเก่าเท่าไหร่ (แต่ก็เป็นทางที่ถูกแล้วล่ะครับ) ไม่รู้แนวนี้เรียกว่าฟังกี้รึเปล่า.. เป็นเพลงให้กำลังใจให้คนเราก้าวไปข้างหน้า ฟังแล้วก็สดใสดีทีเดียว.. เพลงช้าจะคล้ายเพลงป๊อปธรรมดา ที่อาจจะยากกว่าใน Greenlight หน่อย แต่กับเพลง เรื่องเล็กน้อย นี่ก็เป็นเพลงช้าหม่นๆ ที่แต่งได้มีสไตล์ดีนะ.. นี่ก็ไม่รู้เรียกแนวอะไร ไม่ค่อยมีความรู้แฮะ {table style='background: #FFF none'}{tr}{td width=260}{img src=data/pic/cov/48_tsunami1.gif alt=} {img src=data/pic/cov/48_tsunami2.gif alt=}{td} {b}ศิลปิน :{/b} รวมหลายศิลปิน {b}อัลบั้ม :{/b} [V]ecovery {b}สังกัด :{/b} Dobe Music Production {b}ศิลปิน :{/b} รวมหลายศิลปิน {b}อัลบั้ม :{/b} In The Memory of 26th December {b}สังกัด :{/b} Insane Record {/table} ไม่ใช่อัลบั้มที่ตั้งใจออกมาคู่กัน แต่ก็วางแผงแทบจะพร้อมกัน (และรู้สึกว่ามีอยู่วงนึงทำเพลงแล้วโอนย้ายมาลงอีกอัลบั้มนึงซะงั้น..) ทั้งสองชุดมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือ หารายได้ช่วยผู้ประสบภัยจากคลื่นสึนามิ คราวนั้นผมว่าแต่ละคนคงได้อิ่มบุญกันซ้ำๆ ย้ำๆ น่าดูเหมือนกัน จะหันไปทางไหน จะจ่ายเงินค่าอะไร เขาก็เอารายได้ไปช่วยเรื่องนี้กันหมด ..ดีครับ.. เรื่องไม่ดีเกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจ ทำให้เรื่องดีๆ เกิดขึ้นได้โดยตั้งใจ อัลบั้มแรกเป็นความร่วมมือของค่าย Dobe กับ channel [V] มีเพลงใหม่ 5 เพลง จาก 5 วง ได้แก่ นภ พรชำนิ, Bra Branner, กอล์ฟ เบญจพล+แตง โชว์รูม, Playground, และ Lucks Music เพลงนำอัลบั้ม จากนภ คือ หัวใจของเธอ นี่ความหมายดีเลยนะครับ ปลอบใจคนที่เสียคนรักไป.. อย่าปล่อยให้หัวใจตัวเองจมตามลงไปด้วย เพลงที่เหลือก็เข้าที รู้ว่าทุกๆ วงตั้งใจทำมากๆ เลยนะนี่ ค่ายตาล้าลา ของกอล์ฟ เบญจพล ส่งเพลงป๊อป ฉันยังอยู่.. วงเพลย์กราวด์ ส่งเพลง ทะเลยังสวยเหมือนเดิม เพลงนี้ก็มีมุมมองดีครับ (มุมมองดั๊นมาตรงกับที่ผมเองแต่งไว้ด้วยดิ) คือ พออะไรร้ายๆ ผ่านไปแล้ว ทะเลก็ยังจะสวยเหมือนเดิม และพรุ่งนี้ทุกอย่างก็จะดีขึ้น คนเราก็ยังจะให้ทะเลปลอบใจเหมือนเดิม ค่ายลักษ์มิวสิค มากันยกค่ายเลยครับ ทั้งเสนาหอย ทอฟฟี่ และคนอื่นๆ รวมถึงทีมคนเคาะทั้งเจ็ด (Exotic) ที่มาเติมจังหวะเร้าใจให้กับเพลงนี้ กลายเป็นเพลงปลุกใจที่ปลุกได้ผลดีอีกเพลงนึงเลย.. อีกอัลบั้มเป็นความร่วมมือจากคนทำเพลงอิสระต่างๆ แกนนำคือวง Goinsane และ Andaman indy ซึ่งเพลงเผชิญ ของวงโกอินเซน ที่เป็นเพลงแรกของอัลบั้มก็ทำได้ดี เป็นเพลงร๊อคช้าที่ใช้ทางคอร์ดประหลาดแต่ได้อารมณ์มากอ่ะครับ (แล้วก็ให้ดั๊นบังเอิญมาเหมือนกับที่ผมแต่งเพลงสึนามิไว้ด้วย อีกแล้ว..) ถ้าไล่เริ่มจากบรรเลงเปียโนเพลงธีมของอัลบั้ม โดยนักเปียโนที่ใช้นามแฝงว่า คนไม่พิเศษ (ไม่รู้เลยนะเนี่ยว่าใคร..) ไปจนถึงเพลงสุดท้ายที่เป็นเพลงเดียวกันแต่เป็นการร้องหมู่ ก็มีทั้งหมด 12 แทร็ค จาก 11 กลุ่ม นอกจากที่ว่ามา เพลงที่น่าสนใจก็มี เสมอ จาก Basketband และ แทนลมหายใจ จากผู้หญิงเสียงสวยชื่อ ปริย ธรรมาชีวะ (ไม่รู้จักอ่ะ) สองเพลงนี้เป็นเพลงที่คนแต่งเนื้อเลือกคำมาสัมผัสได้โป๊ะเชะดี เนื้อหาดี ตัวเพลงทำออกมาน่าฟัง.. ไม่แน่ใจว่าแทร็คที่ 10 ที่ชื่อเพลง ฝ่า โดย Yass นั้นเป็นชื่อวงจริงหรือแฝง เพราะลีลาละม้ายคล้ายวงๆ หนึ่งม๊ากมาก.. ป.ล. ชุดแรก 5 เพลง (มีโบนัสแทร็คอีกนิดหน่อย) ราคา 120 บาท แต่ชุดหลัง 12 เพลง ราคาเพียง 50 บาท.. ทำไมสลับกันอย่างงั้น.. {table style='background: #FFF none'}{tr}{td width=260}{img src=data/pic/cov/48_nop.gif alt=}{td} {b}ศิลปิน :{/b} นภ พรชำนิ {b}อัลบั้ม :{/b} A Man of Smlies {b}สังกัด :{/b} Dobe Music Production {/table} นี่เป็นอัลบั้มที่เกือบสมบูรณ์แบบแล้วล่ะครับ ติดอยู่อย่างเดียวคือ.. "แยกขายทีละครึ่งชุดทำไมฟระ" ถ้าเอาหน้า A กับหน้า B มาต่อเข้าด้วยกัน เป็น 12 เพลงร้อง คั่นด้วย 2 เพลงบรรเลง (โบนัสแทร็คเวอร์ชั่นอะคูสติกทั้งหลายตัดทิ้งไป) ก็จะเป็นอัลบั้มที่ดีมากๆ ชุดหนึ่งเลย ตรงกับที่พี่นภแกบอกว่า นี่คืออัลบั้มแรกและอัลบั้มสุดท้าย ของนักร้องเพลงป๊อปที่ชื่อนภ พรชำนิ.. (หมายความว่าหลังจากนี้จะอยู่เบื้องหลัง และทำเพลงไม่ค่อยป๊อปแล้ว) ทุกเพลงในอัลบั้มนี้มีทางป๊อปผสมอยู่ ฟังง่ายสบายหู เข้าใจง่าย โดยในหน้า A นั้นส่วนใหญ่เป็นเพลงที่ง่าย หน้า B ส่วนมากจะมีความหม่นหมองปนอยู่, จะฟังยากกว่าหน้า A.. (หนึ่งเพลงในหน้า B คือ หัวใจของเธอ จากซิงเกิ้ลสึนามินั่นแล..) ทีแรกฟังหน้า A ไปเสร็จปั๊บ ยังรู้สึกเฉยๆ อื้มก็ฟังได้นี่นะ แต่พอมาได้ฟังหน้า B ปึ๊บ.. เฮ้ย ไม่เลวว่ะ มันเกิดการเปรียบเทียบระหว่าง 2 หน้า ว่าเออ เก่งแฮะคนนี้ ทำเพลงป๊อปสดใสก็ทำได้ ทำเพลงเศร้าโคตรๆ ก็ทำได้ แล้วทำนองเพลงป๊อปที่น่าฟัง ก็ทำได้หลากหลายแถมยังดีหมด! มีหลายเพลงแต่งแบบโยกย้ายคีย์ ให้น่าสนใจขึ้นก็ยิ่งน่าศึกษาใหญ่ แถมเพลงช้ายังมีเครื่องสายมาเพิ่มความดราม่าเข้าไปอีก แม้แต่เพลงบรรเลงก็ยังเป็นส่วนสำคัญในการสร้างอารมณ์ด้วย.. ฟังต่อกัน 2 หน้าปั๊บ.. บ๊ะ.. บรรลุเลย.. ชุดนี้แจ่มจริงๆ.. {table style='background: #FFF none'}{tr}{td width=260}{img src=data/pic/cov/48_finetune.gif alt=}{td} {b}ศิลปิน :{/b} รวม 5 ศิลปิน {b}อัลบั้ม :{/b} I am Fine Tune thank you {b}สังกัด :{/b} Fine Tune Studio {/table} อัลบั้มปิดท้ายปลายปี เป็นรวม 5 วง กับ 5 เพลงใหม่ ของค่าย Fine Tune ซึ่งไม่ได้ออกใต้ชายคา Blacksheep แล้ว.. ค่ายนี้เพลงเค้าจะมีบรรยากาศละครเวทีๆ หน่อยนะครับ และก็ผสมเสียงได้ใสปิ๊งมากๆ.. ฟังชัดเจนไม่มีสะดุดอารมณ์.. ชุดใหม่นี้ซื้อมาจากงานแฟต และยังไม่เห็นว่ามีขายทั่วไปเลย ซื้อมา 99 บาทเต็มราคาปก แอบงอนคนขายนิดหน่อยที่ไม่ยอมลดให้ แต่กลับมาฟังแล้วก็ อื้ม.. ช่วยเหลือให้เค้ามีทุนมั่งก็คงดีนะ ค่ายนี้จะได้ไม่เจ๊งไปซะก่อน เพลงเค้าใช้ได้เลยนะ.. เก็บมาก็เพราะเห็นชื่อวง Good September และเคลิ้มสมาคม สองวงนี้ยังไม่มีอัลบั้มเต็ม แต่เป็นวงที่ผมชอบมาก จากคอมพิเลชั่นแรกของค่ายนี้เมื่อปีที่แล้ว คือ Black Album 3 Fine Tune : One Thing in Common (แต่ไม่ได้เลือกเป็นอัลบั้มโปรดเพราะปีที่แล้วมีอัลบั้มดีเยอะมากเลย) สองเพลงของเคลิ้มสมาคม และสองเพลงของกู๊ดเซพเทมเบอร์ ในชุดนั้น ได้แก่ ครั้งแรก, ฉีกยิ้ม, ดึกแล้วคืนนี้, อยากให้เธอกลับมาอยู่กับฉัน เคลิ้มสมาคม เป็นสองคนที่แต่งเพลงไปในทางสวิงแจ๊ส ถอดแบบท่วงทีและวิถีคิดมาจากพี่จิก ประภาส และเพลงของเฉลียง แถมเสียงร้องยังละม้ายคล้ายพี่เจี๊ยบ วัชระ อีกตะหาก แฟนเฉลียงบางคนอาจจะไม่ชอบ แต่ผมฟังแล้วยอมรับว่าทำได้ดีเลยล่ะครับ.. ส่วน Good September เป็นวงดนตรีในแนวโซล+ฟังก์ คล้ายคลึงกับเครสเซนโด้, มิสเตอร์ทีม, หรือบิ๊กบราเธอร์ส (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น บิ๊กแอนด์เดอะซูเปอร์แบนด์) .. ถึงแม้วงนี้จะไม่มีเครื่องเป่า และเสียงร้องนำจะไม่ได้ไปโทนเดียวกับนักร้อง 3 วงที่ว่านั้น แต่การเรียบเรียงก็ละมุนหู และเสียงร้องก็นุ่มน่าฟังกว่ากันอยู่.. ในอัลบั้มล่าสุดนี้ก็มีเพลงใหม่มาให้ชิม คือ หวาน - เคลิ้มสมาคม, อย่าเบื่อคำว่าเสียใจ - กู๊ดเซพเทมเบอร์ รสชาติในทางของแต่ละวงยังไม่ขาดตกไปจากเดิมเลยครับ และเมื่อมารวมกับอีก 3 เพลงจาก 3 กลุ่มใหม่ คือ บอกรัก - School Girl Memory, คืนนั้น - นรเศรษฐ์ (norsez), สุดท้าย - Swinging System ก็ทำให้อัลบั้มนี้มีกลิ่นอายของ FineTune ชัดเจนขึ้นไปใหญ่.. (ฟังเสียงร้องของ Swinging System แล้วนึกไปถึง cd แผ่นนึง ที่ได้มาเป็นของกำนัล.. ไม่แน่ใจว่าใช่เขาหรือไม่..) แปลกดีนะ ปีนี้อัลบั้มที่เลือกมาเกือบจะเป็น E.P. ล้วนเลย มีมอร์นิ่งเซอร์ฟเฟอร์หลุดมาชุดเดียวที่เป็นอัลบั้มเต็ม.. วิเคราะห์ได้ว่าอะไรดี.. เอ้า ไม่รู้จะเขียนอะไรแล้วครับ หวัดดีปีใหม่! us:=นวย.:am:. - 29/12/2005 20:15 ๏+๏-๏-๏-๏- op:=อัลบั้มที่เกือบเข้ารอบเป็นอัลบั้มเต็มทั้งนั้นเลย.. ได้แก่ อัลบั้มเต็มชุดแรกของ Damnwrong อัลบั้มเต็มชุดที่สองของ Scrubb, ละอองฟอง, Flure อัลบั้มเต็มชุดที่สามของ Street Funk Rollers, Skalaxy us:=นวย.:am:. - 30/12/2005 11:31 ๏+๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-