tp:=28/12/45 .. ญาณวิทยา - ตอนแรก tg:= op:=เมื่อวานผมสอบวิชาเลือก : ปรัชญาและตรรกศาสตร์ แห่งภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ ข้อสอบถือว่าไม่ยากไม่ง่าย แต่นั่นไม่ใช่ประเด็นที่จะเอามาเล่า ที่จะเล่าวันนี้คือสาขาหนึ่งในภาคปรัชญาสิครับ ทีเด็ด หลังจากได้อ่านบทความหลายๆ อันแล้วชักสนุก สาขานี้คือ ญาณวิทยา (Epistemology) ฟังชื่อแล้วอาจจะแปลกๆ เฮ้ย ญาณอะไรหว่า ดูแล้วไสยศาสตร์ๆ ไงไม่รู้.. หากแปลจากความหมายในพจนานุกรมก็จะบอกว่า เป็นปรัชญาที่เกี่ยวกับ การกำเนิดธรรมชาติ วิธีการ และขอบเขตของความรู้ของมนุษย์ ผมเล่าให้ฟังแบบง่ายๆ ละกัน ปัญหาที่นักปรัชญาตั้งขึ้นมาป็นพื้นฐานเลยคือ "มีอะไรหรือสิ่งใดบ้าง ที่เป็นสิ่งจริงแท้แน่นอน" นักปรัชญานี่ก็แปลกนะครับ แทนที่จะทำมาหากินค้าขายอะไรก็ว่าไป กลับมาตั้งคำถามสงสัยเอากับทุกอย่าง ในโลกและนอกโลก คือสงสัยว่าทุกอย่างที่เราคิดว่ารู้จัก แท้จริงเป็นอย่างนั้นหรือเปล่า คำถามฟังดูง่ายๆ และเหมือนพูดอะไรบ้าบอ แต่ที่จริงถ้าคิดดีๆ ตอบยากเหมือนกันนะครับ... ... บังเอิญนักปรัชญาทุกคนนั่งเขียนบทความบนโต๊ะ ก็เลยชอบขบคิดเรื่องสิ่งของโดยเอาโต๊ะนี่แหละเป็นตัวแทน มีคำๆ หนึ่งอธิบายคำถามข้างบนนั้นได้.. คำว่าจิตนิยม จิตนิยมเป็นความเชื่อที่ว่า แท้ๆ แล้วเนี่ย อะไรทุกอย่างมันพิสูจน์ไม่ได้ว่ามีอยู่จริงหรอก โต๊ะที่เรานั่งมองอยู่ เอามือวางอยู่ นี่ก็ตามเถอะ ที่แท้เราก็รู้แค่ภาพโต๊ะ สัมผัสของโต๊ะ เสียงเคาะโต๊ะ ทุกอย่างเป็นข้อมูลทางประสาทสัมผัสทั้งสิ้น เราไม่อาจสรุปได้ว่าโต๊ะมันมีอยู่ตรงนั้นจริง ข้อมูลที่มากที่สุดที่เกี่ยวกับโต๊ะก็คือ ข้อมูลทางประสาทสัมผัสในหัว (เรียกว่าในจิต) ของทุกคน แค่นั้นเอง Berkeley เป็นนักปรัชญาที่กล่าวขึ้นมาคนแรกว่า ที่เราคิดว่าโต๊ะมีจริงน่ะพิสูจน์ไม่ได้หรอก เพราะสิ่งที่มีจริงเป็นเพียงภาพโต๊ะในจิตใจเราต่างหาก (นอกจากภาพ รวมถึงการสัมผัส การดม การชิมรส การฟังเสียง) ดังนั้น เราไม่สามารถยืนยันได้ว่าอะไรมีตัวตนจริงๆ เลยสักสิ่ง.. เราเพียงยืนยันได้ว่าข้อมูลทางประสาทสัมผัสเท่านั้นน่ะที่มีอยู่ชัวร์ นี่ผมฟังคนนี้แล้วเชื่อเลยนะเนี่ย เออใช่ เราเคยชินกับการสร้างจินตนาการเอาเองในใจ ว่าถ้าภาพที่เห็นเป็นแบบนี้แล้ว สิ่งของแบบ 3 มิติจะเป็นเช่นไร บางทีสายตา หรือหู หรือสัมผัส หรือจมูก หรือลิ้นเราเอง ก็ผิดได้ นักปรัชญาเขาเลยบอกว่า อะไรมีอยู่จริงรึเปล่าเก็บเป็นสิ่งที่สรุปไม่ได้ก่อนละกัน ทีนี้เลยกลายเป็นว่าสิ่งของทุกอย่างอาจจะไม่มีอยู่จริงก็ได้ โต๊ะตรงหน้า เก้าอี้ที่รับก้นเราอยู่ จอคอมที่มองอยู่นี่ ร่างกายของเรา หรือแม้แต่ดวงจันทร์ที่เห็น รวมทั้งร่างกายคนอื่นและจิตคนอื่นด้วย ทั้งหมดอาจจะเห็นแค่ภาพในจินตนาการ ภาพในจิตเราล้วนๆ ก็ได้ หรือคล้ายๆ เป็นภาพฝันของเราเอง ..ใครจะรู้นี่เราอาจอยู่ในภวังค์ โลกที่เราอยู่ที่เราเห็น สิ่งแวดล้อมทุกอย่างอาจเป็นเพียงภาพหลอก ซึ่งให้ความรู้สึกเหมือนมีอยู่จริงม้ากมาก.. อ้าว.. เป็นงั้นซะแล้ว.. ผมลองคิดดูในใจว่า ..อ๊ะแล้วทำไมทุกคน (หมายถึงจิตทุกจิต) ถึงเห็นสิ่งของเป็นสิ่งเดียวกันล่ะ เห็นออกมาสีเดียวกัน ได้ยินเสียงเดียวกัน สัมผัสถึงความเรียบหรือขรุขระเหมือนกัน แสดงว่าสิ่งของมันน่าจะมีอยู่ และมันก็มีข้อมูลทางสัมผัส (สี กลิ่น รส ฯลฯ) เป็นสมบัติติดตัวมันอยู่ แต่พอนึกถึงทฤษฎีเห็นสีที่ผมคิดไว้เมื่อก่อนได้ ก็เริ่มแย้งกับความคิดตัวเองอันนี้ทันที (สำหรับคนที่ไม่เคยอ่านหรือลืมไปแล้ว ทวนอีกทีว่า ทฤษฎีเห็นสีคือ คนเราทุกคนอาจจะเห็นอะไรสีสันต่างกันโดยสิ้นเชิง เช่นแดงของผมอาจจะเป็นเขียวของคุณ แต่เหตุที่เราเรียกชื่อตรงกัน ว่าฟ้าสีฟ้า ใบไม้สีเขียว กางเกงในสีแดง.. ก็เป็นเพราะว่าเราถูกสอนมาตั้งแต่เด็กๆ ว่าสิ่งของอันนี้ สีนี้ที่เห็นมีชื่อเรียกว่า สีนี้ นะ.. สรุปเราจึงพิสูจน์ทฤษฎีนี้ไม่ได้.. นอกจากว่าเราเองจะย้ายไปอยู่ในจิตของอีกคน) มีคนถามเบอร์กเลย์เหมือนกันว่า แล้วทำไมทุกคนเห็นของตรงกัน แสดงว่าน่าจะมีของอยู่จริง และสร้างภาพมาให้ทุกคนเห็นในแบบเดียวกัน เบอร์กเลย์ตอบมาว่า เฮ้ย ยังเชื่อไม่ได้ สิ่งของที่มีอยู่นอกจิตนั่นอาจจะเป็น ภาพในจิตของพระเจ้า ก็ได้ เหมือนมีใครคนหนึ่งที่ตัวเราเองก็อยู่ในจิตเขาด้วย โห.. ว่าไปถึงนั่นแล้ว.. นักปรัชญาคนที่สองที่ผมจะแนะนำคือ Russell คนนี้แย้งความคิดของเบอร์กเลย์ที่ว่า อะไรก็ตามที่เราไม่ได้รับข้อมูลทางสัมผัส จะไม่สามารถยืนยันว่ามีอยู่จริง รัสเซลล์บอกว่า ถึงผมไม่เคยเห็นหรือรับรู้ลักษณะอื่นๆ ของจักรพรรดิ์จีน แต่ผมก็รู้ว่าจักรพรรดิ์จีนมีอยู่จริงนะ โอ้โห.. โดนเลย พูดแบบนี้.. เบอร์กเลย์บอก เฮ้ยนั่นคุณก็ต้องมีคนเล่าให้ฟัง คือจักรพรรดิ์จีนในแบบที่มีคนเคยเห็นสักคนอ่ะแหละ ก็บอกต่อๆ กันมาถึงหูคุณไง.. ซึ่งก็ยืนยันไม่ได้ว่ามีอยู่จริง เพราะเป็นภาพ (ข้อมูลทางประสาทสัมผัส) ของจักรพรรดิ์จีนในจิตคนอื่น.. อ้าว.. เถียงไม่ออกแล้ว ผมชอบคำพูดของรัสเซลล์ เพราะถ้าคุณเคยดูหนังเรื่อง Dave จะได้ยินบทสนทนาเด็ดๆ ที่คนเขียนบทแทรกเข้ามา โดยไม่เกี่ยวกับเนื้อหาของหนังเลย.. เข้าใจว่าคนเขียนบทก็เคยได้ยินคำพูดของรัสเซลล์เหมือนกัน.. ในหนัง พระเอกกะนางเอกก็คุยกันอยู่นอกระเบียงตอนค่ำ นางเอกถามว่า: คุณว่ามนุษย์ต่างดาวมีจริงมั้ย พระเอกบอก: มีสิ นางเอก: อ้าว คุณรู้ได้ไง คุณเคยเห็นเรอะก็เปล่า พระเอก: งั้นเอางี้ คุณเคยเห็นเงินร้อยล้านดอลล่าร์มะ ? นางเอก: ไม่เคย พระเอก: แต่เงินร้อยล้านดอลล่าร์มีจริงนะ.. ... โอ้โห เจอแบบนี้อึ้ง us:=นวย.:am:. - 29/12/2002 10:02 ๏+๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏- op:=เออ อืม. us:=ปู๊ด - 03/01/2003 20:36 ๏+๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-๏-